เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก
ข้อมูลบรรณานุกรม  #37890    

ความนิยม
ประเภทวัสดุ หนังสือ
ISBN978-974-203-858-8
Dewey Call #343.0994 ค127ก 2567
ผู้แต่งคณาธิป ทองรวีวงศ์
ชื่อเรื่องกฎหมายความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เล่ม 1 : ภาคกรอบแนวคิด ทฤษฎี และโครงสร้างฐานความผิด ภาคความผิดต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์
ครั้งที่พิมพ์พิมพ์ครั้งที่ 2
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : นิติธรรม, 2567
ลักษณะทางกายภาพ(14), 709 หน้า ; 26 ซม.
หัวเรื่องคอมพิวเตอร์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 การก่อการร้ายทางไซเบอร์
 โจรกรรมเอกลักษณ์บุคคลออนไลน์
สรุปอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) หรืออาชญากรรมไซเบอร์ (Cyber Crime) ส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ และการดำเนินชีวิตของประชาชนทั่วไป ในสภาพแวดล้อมที่พึ่งพิงเทคโนโลยีสารสนเทศในมิติต่าง ๆ ประเทศไทยมีกฎหมายเฉพาะที่กำหนดความผิดสำหรับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2560 อย่างไรก็ตาม “ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ” ตามพระราชบัญญัตินี้มีขอบเขตฐานความผิด องค์ประกอบที่แตกต่างจากกฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์หรืออาชญากรรมไซเบอร์ของหลายประเทศ โดยเฉพาะการกำหนดความผิดกว้างกว่าการกระทำทางเทคนิคต่อระบบหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงการกำหนดความผิดในกลุ่มเนื้อหา (Content Related Crime)และมาตรการระงับการเผยแพร่เนื้อหา สำหรับหนังสือเล่มนี้ มีขอบเขตเฉพาะความผิดที่กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Computer Security)โดยเฉพาะมาตรา 5-10 มาตรา 12 มาตรา13ซึ่งในทางวิชาการการจัดเป็นอาชญากรรมคอมพิวเตอร์โดยแท้ (Pure Cybercrime) อันเป็นเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีกฎหมายเฉพาะแยกต่างหากจากกฎหมายอาญาเดิม
ISBN978-974-203-858-8
Dewey Call #343.0994 ค127ก 2567
ผู้แต่งคณาธิป ทองรวีวงศ์
ชื่อเรื่องกฎหมายความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เล่ม 1 : ภาคกรอบแนวคิด ทฤษฎี และโครงสร้างฐานความผิด ภาคความผิดต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์
ครั้งที่พิมพ์พิมพ์ครั้งที่ 2
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : นิติธรรม, 2567
ลักษณะทางกายภาพ(14), 709 หน้า ; 26 ซม.
หัวเรื่องคอมพิวเตอร์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 การก่อการร้ายทางไซเบอร์
 โจรกรรมเอกลักษณ์บุคคลออนไลน์
สรุปอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) หรืออาชญากรรมไซเบอร์ (Cyber Crime) ส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ และการดำเนินชีวิตของประชาชนทั่วไป ในสภาพแวดล้อมที่พึ่งพิงเทคโนโลยีสารสนเทศในมิติต่าง ๆ ประเทศไทยมีกฎหมายเฉพาะที่กำหนดความผิดสำหรับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2560 อย่างไรก็ตาม “ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ” ตามพระราชบัญญัตินี้มีขอบเขตฐานความผิด องค์ประกอบที่แตกต่างจากกฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์หรืออาชญากรรมไซเบอร์ของหลายประเทศ โดยเฉพาะการกำหนดความผิดกว้างกว่าการกระทำทางเทคนิคต่อระบบหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงการกำหนดความผิดในกลุ่มเนื้อหา (Content Related Crime)และมาตรการระงับการเผยแพร่เนื้อหา สำหรับหนังสือเล่มนี้ มีขอบเขตเฉพาะความผิดที่กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Computer Security)โดยเฉพาะมาตรา 5-10 มาตรา 12 มาตรา13ซึ่งในทางวิชาการการจัดเป็นอาชญากรรมคอมพิวเตอร์โดยแท้ (Pure Cybercrime) อันเป็นเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีกฎหมายเฉพาะแยกต่างหากจากกฎหมายอาญาเดิม
LDR 01794nam a2200241 a 4500
005 20250409141252.0
008 250409s xx tha d
020__‡a978-974-203-858-8‡c600 บาท
08204‡a343.0994‡bค127ก 2567
1001_‡aคณาธิป ทองรวีวงศ์
24510‡aกฎหมายความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เล่ม 1 :‡bภาคกรอบแนวคิด ทฤษฎี และโครงสร้างฐานความผิด ภาคความผิดต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์
250__‡aพิมพ์ครั้งที่ 2
260__‡aกรุงเทพฯ :‡bนิติธรรม,‡c2567
300__‡a(14), 709 หน้า ;‡c26 ซม.
520__‡aอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) หรืออาชญากรรมไซเบอร์ (Cyber Crime) ส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ และการดำเนินชีวิตของประชาชนทั่วไป ในสภาพแวดล้อมที่พึ่งพิงเทคโนโลยีสารสนเทศในมิติต่าง ๆ ประเทศไทยมีกฎหมายเฉพาะที่กำหนดความผิดสำหรับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2560 อย่างไรก็ตาม “ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ” ตามพระราชบัญญัตินี้มีขอบเขตฐานความผิด องค์ประกอบที่แตกต่างจากกฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์หรืออาชญากรรมไซเบอร์ของหลายประเทศ โดยเฉพาะการกำหนดความผิดกว้างกว่าการกระทำทางเทคนิคต่อระบบหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงการกำหนดความผิดในกลุ่มเนื้อหา (Content Related Crime)และมาตรการระงับการเผยแพร่เนื้อหา สำหรับหนังสือเล่มนี้ มีขอบเขตเฉพาะความผิดที่กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Computer Security)โดยเฉพาะมาตรา 5-10 มาตรา 12 มาตรา13ซึ่งในทางวิชาการการจัดเป็นอาชญากรรมคอมพิวเตอร์โดยแท้ (Pure Cybercrime) อันเป็นเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีกฎหมายเฉพาะแยกต่างหากจากกฎหมายอาญาเดิม
650_7‡aคอมพิวเตอร์‡xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
650__‡aอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
650__‡aการก่อการร้ายทางไซเบอร์
650__‡aโจรกรรมเอกลักษณ์บุคคลออนไลน์
850__‡aKRIRK
เลือกห้องสมุด :
 บาร์โค้ดเลขหมู่/เล่มที่Collectionห้องสมุดสาขาสถานที่จัดเก็บสถานะ
34AT087342343.0994 ค127ก 2567หนังสือภาษาไทยสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกริก MAIN   อยู่บนชั้น
 
เพิ่มความเห็น
ชื่อของคุณ
ความเห็น
เพิ่มบทวิเคราะห์
ชื่อของคุณ
เนื้อหา
เพิ่มรายการ
ชื่อเรื่อง
สร้างใน
เก็บในโฟลเดอร์เดียวกันทุกรายการ
สร้างโฟลเดอร์
ชื่อโฟลเดอร์
ผลลัพธ์การเพิ่มรายการ
สงวนลิขสิทธิ์ © 2555, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงวนสิทธิ์ทั้งหมด